WebsiteGang Blog
  • Home
  • Blogs Page
  • แจ้งสารบัญเว็บไซต์ฟรี
  • สารบัญเว็บไซต์
  • สมาชิกเข้าสู่ระบบ
  • ลงทะเบียน
Select Page

262163801_4212420312202710_1508218578933738811_n

by sign.phetkasem | Feb 18, 2024

468


ไม่พร้อมทำเว็บไซต์ แต่คิดชื่อได้แล้ว จดโดเมนเนม .com เพียง 499 บาท พร้อมระบบบริหารโดเมนด้วยตัวคุณเอง ฟรี ระบบจัดการโดเมนเนม domain name, DNS Management, ID Protection, Email Forwarding
กรอกชื่อโดเมนเนมที่ต้องการจด:

หมวดหมู่

  • การศึกษา (237)
  • ข่าวสารเว็บไซต์ (333)
  • ข่าวโปรโมชั่น (245)
  • คลิปวีดีโอเด็ดๆ (11)
  • ทั่วไป อื่นๆ (972)
  • ที่พัก (54)
  • บริการรับจ้างทั่วไป (78)
  • บันเทิง ดารา ภาพยนตร์ (13)
  • สุขภาพ (132)
  • ออนไลน์น่ารู้ (398)
  • เดินทางท่องเที่ยว (75)
  • เตือนภัยมิจฉาชีพออนไลน์ (29)
  • แนะนำสินค้าและบริการ (479)

บทความล่าสุด

  • Retire Your Worries: Discover a New Rhythm of Life in Hua Hin July 19, 2025
  • อุทิศที่ดินให้กับทางราชการหรือยินยอมให้ทางราชการเข้าไปดำเนินการเพื่อใช้ประโยชน์โดยมีเงื่อนไข เมื่อทางราชการมิได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขก็ต้องถือว่าที่ดินพิพาทยังไม่ตกเป็นของทางราชการและไม่ตกเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน เจ้าของเดิมสามารถฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมการให้ที่ดินพิพาทได้ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1434/2563 หนังสือแสดงความประสงค์เรื่อง การอุทิศที่ดินให้กับทางราชการหรือยินยอมให้ทางราชการเข้าไปดำเนินการเพื่อให้มีการใช้ประโยชน์ร่วมกัน ทำขึ้นระหว่างโจทก์ทั้งสองในฐานะผู้บริจาคกับจำเลยในฐานะผู้รับบริจาค แม้จะมิได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ก็ย่อมมีผลผูกพันโจทก์ทั้งสองและจำเลยในฐานะเป็นบุคคลสิทธิ จำเลยจึงต้องปฏิบัติตามข้อสัญญาที่ระบุไว้ในหนังสือแสดงความประสงค์ดังกล่าว เมื่อการยกให้ แก่จำเลยเป็นการยกให้โดยมีเงื่อนไข ที่ดินพิพาททั้งสองแปลงจะตกเป็นของทางราชการและตกเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินก็ต่อเมื่อจำเลยได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขแล้ว จำเลยไม่ได้เริ่มดำเนินการก่อสร้างอาคารและสิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ ภายในระยะเวลาตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในหนังสือแสดงความประสงค์ ก็ต้องถือว่าที่ดินพิพาทยังไม่ตกเป็นของทางราชการและไม่ตกเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน โจทก์ทั้งสองจึงมีสิทธิฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมการให้ที่ดินพิพาททั้งสองแปลงได้ #ทนายโทนี่ #ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์ www.drsuthichai.com July 19, 2025
  • คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6166/2562 ข้อเท็จจริงที่คู่ความไม่ได้โต้เถียงกันฟังเป็นยุติได้ว่า เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2555 จำเลยจดทะเบียนจำนองที่ดินไว้แก่โจทก์เพื่อเป็นประกันการกู้ยืมเงิน ต่อมาเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2557 ผู้ร้องสอดตกลงทำสัญญาซื้อขายต้นไม้กฤษณาจำนวน 900 ต้น ซึ่งจำเลยปลูกอยู่บนที่ดินดังกล่าว และผู้ร้องสอดชำระค่าต้นไม้กฤษณาให้แก่จำเลยแล้วในวันทำสัญญา ต่อมาโจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยชำระเงินตามสัญญากู้ยืมเงิน หากจำเลยไม่ชำระให้ยึดทรัพย์จำนองพร้อมสิ่งปลูกสร้างออกขายทอดตลาดนำเงินมาชำระหนี้แก่โจทก์ ผู้ร้องสอดยื่นคำร้องสอดว่าต้นไม้กฤษณาดังกล่าวไม่เป็นทรัพย์สินที่โจทก์จะบังคับจำนองได้ #ศาลฎีกาเห็นว่า แม้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 145 วรรคแรก จะบัญญัติว่า “ไม้ยืนต้นเป็นส่วนควบกับที่ดินที่ปลูกหรือขึ้นอยู่” ก็ตาม แต่หากเมื่อใดผู้ปลูกตัดไม้ยืนต้นออกไปจากที่ดินต้องถือว่านับตั้งแต่นั้นผู้ปลูกมีเจตนาจะให้ไม้ยืนต้นอยู่ติดกับที่ดินเพียงชั่วระยะเวลาหนึ่งอันมีจำกัดเป็นการชั่วคราว ไม้ยืนต้นที่ถูกตัดไปย่อมหมดสภาพการเป็นทรัพย์ส่วนควบของที่ดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 146 แม้จะได้ความตามว่าไม้กฤษณาที่ปลูกดังกล่าวเป็นต้นไม้มีอายุหลายปีโดยสภาพเป็นไม้ยืนต้นในที่ดินของจำเลยตั้งแต่ก่อนจำเลยจำนองที่ดินแก่โจทก์เพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ แต่เมื่อพิจารณาสัญญาซื้อขายต้นไม้กฤษณาระหว่างผู้ร้องสอดกับจำเลย อันมีสาระสำคัญแห่งข้อตกลงด้วยว่า ให้ผู้ร้องสอดผู้ซื้อตัดต้นไม้กฤษณาในที่ดินและนำออกจากที่ดินจำเลยมีกำหนดเวลา 4 ปี ต้นไม้กฤษณาที่เกษตรกรปลูกโดยทั่วไปจะมีระยะตั้งแต่เวลาปลูกต้นกล้า จนฉีดสารเร่งและตัดได้ประมาณ 6-7 ปี เมื่อตัดต้นไม้กฤษณาออกไปจากลำต้น ต้นไม้กฤษณาสามารถแตกแขนงรอบๆโคนต้นได้ แต่ไม้กฤษณาเป็นไม้เนื้ออ่อนไม่มีแก่น เมื่อโดนลมก็จะหักง่าย จึงไม่สามารถปล่อยให้กิ่งแตกแขนงขึ้นมาและใช้ประโยชน์ใดๆได้ เกษตรกรจึงใช้วิธีไถกลบและปลูกต้นกล้าใหม่เท่านั้น พฤติการณ์แห่งคดีย่อมเป็นที่เห็นได้ชัดว่า ต้นไม้กฤษณาที่จำเลยปลูกในที่ดินเป็นการปลูกไว้เพียงชั่วคราวในระยะเวลาหนึ่ง และเมื่อต้นไม้กฤษณาโตได้ขนาดก็จะตัดโค่นนำแก่นไปสกัดเป็นน้ำหอม ซึ่งบุคคลปกติทั่วไปรวมทั้งโจทย์อาจเล็งเห็นได้ ต้นไม้กฤษณาที่ปลูกลงในที่ดินจึงเป็นทรัพย์ที่ติดกับที่ดินเพียงชั่วคราวตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 146 ไม่ตกเป็นส่วนควบของที่ดินที่จำเลยนำไปจำนองไว้แก่โจทก์ ต่างจากส่วนโคนต้น ซึ่งหากไม่มีการไถกลบไปก็อาจเป็นส่วนควบกับที่ดิน ดังนี้ เมื่อผู้ร้องสอดตกลงทำสัญญาซื้อขายต้นไม้กฤษณา และชำระเงินแก่จำเลยแล้วดังกล่าวไปข้างต้น กรรมสิทธิ์ในต้นไม้กฤษณาย่อมตกได้แก่ผู้ร้องสอดตั้งแต่วันที่ทำสัญญาซื้อขาย วันที่ 10 มีนาคม 2557 แล้ว ผู้ร้องสอดชอบที่จะตัดต้นไม้กฤษณาจากที่พิพาทได้ โจทก์ไม่มีสิทธิบังคับจำนองเอาจากส่วนของผู้ร้องสอดซึ่งเป็นบุคคลภายนอก __________ ที่มา: คำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2562 เล่มที่ 10 หน้า 59-62 #ทนายโทนี่ #ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์ www.drsuthichai.com July 19, 2025
  • ความผิดฐานให้บุคคลอื่นกู้ยืมเงินโดยเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกำหนด คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1561/2565 ความผิดฐานให้บุคคลอื่นกู้ยืมเงินโดยเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกำหนด เกิดขึ้นและสำเร็จแล้วในทันทีที่จำเลยให้ผู้เสียหายทั้งห้ากู้เงินโดยเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกำหนด มิใช่ว่าจำเลยจะต้องได้รับดอกเบี้ยจากผู้เสียหายทั้งห้าก่อน พระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ.2560 ม. 4 (1) มาตรา๔ บุคคลใดให้บุคคลอื่นกู้ยืมเงินหรือกระทําการใดๆอันมีลักษณะเป็นการอําพรางการให้กู้ยืมเงินโดยมีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสองแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ (๑) เรียกดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกําหนดไว้ #ทนายโทนี่ #ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์ www.drsuthichai.com July 19, 2025
  • การกู้ยืมเงินที่ต้องการหลักฐานเป็นหนังสือในการฟ้องร้องบังคับคดี ไม่จำต้องมีในขณะกู้ยืมกัน แม้จะมีหลักฐานเป็นหนังสือภายหลัง แต่ก่อนฟ้องร้องบังคับคดีก็เป็นอันใช้บังคับได้ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2280/2567 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 653 วรรคหนึ่ง การกู้ยืมเงินที่ต้องการหลักฐานเป็นหนังสือในการฟ้องร้องบังคับคดีต้องเป็นการกู้ยืมเงินเกินกว่า 2,000 บาท ขึ้นไป และหลักฐานเป็นหนังสือเป็นหนังสือที่กฎหมายบังคับให้ต้องมี มิฉะนั้นจะฟ้องร้องบังคับคดีกันไม่ได้ โดยไม่จำต้องมีในขณะกู้ยืมกัน แม้จะมีหลักฐานเป็นหนังสือภายหลัง แต่ก่อนฟ้องร้องบังคับคดีก็เป็นอันใช้บังคับได้ และคำฟ้องในคดีอาญาของจำเลย ถือเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อจำเลยผู้ยืมเป็นสำคัญ โจทก์สามารถฟ้องร้องให้บังคับคดีจำเลยได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 653 วรรคหนึ่ง #ทนายโทนี่ #ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์ July 19, 2025
  • สถานที่ใดจะเป็นสาธารณสถานหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 883/2520 สถานที่ใดจะเป็นสาธารณสถานหรือไม่ ไม่ต้องคำนึงว่าสถานที่นั้นจะเป็นสถานที่ผิดกฎหมาย เช่นสถานการค้าประเวณีหรือไม่เพียงแต่พิจารณาว่าสถานที่นั้นประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้หรือไม่และต้องพิจารณาข้อเท็จจริงเป็นราย ๆ ไป ถ้าประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้ สถานที่นั้นก็เป็นสาธารณสถานไม่ใช่ที่รโหฐาน ได้ความว่าเจ้าของสถานการค้าประเวณีหรือซ่องโสเภณีมิได้หวงห้ามผู้หนึ่งผู้ใดที่จะไปหาความสุขกับหญิงโสเภณี หรือไปธุระอื่นที่จะเข้าไปในห้องโถงซึ่งใช้เป็นที่รับแขกในสถานการค้าประเวณีหรือซ่องโสเภณีนั้นห้องโถงจึงเป็นสถานที่ซึ่งประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้เป็นสาธารณสถานไม่ใช่ที่รโหฐาน พนักงานตำรวจมีอำนาจค้นและจับได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 93,78(3) จำเลยมีและใช้อาวุธปืนยิงต่อสู้ขัดขวางมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 140, 289(2),80,52(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2519) #ทนายโทนี่ #ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์ July 19, 2025
  • Can vashikaran be used for personal gain or only for relationship issues July 18, 2025
  • Retire in Hua Hin: Where Tranquility Meets Quality Living July 18, 2025
  • เทียบข้อดี-ข้อเสีย รถเทรลเลอร์แบบต่างๆ ที่ใช้ในกรุงเทพฯ เลือกแบบไหนดี? July 18, 2025
  • ความเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ คนเราทุกคนเกิดมาอาจจะไม่เท่าเทียมกัน รวยไม่เท่ากัน มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง ไม่เท่ากัน แต่จะทำอย่างไรให้ทุกคนอยู่ภายใต้กฎหมายอย่างเท่าเทียมกัน กฎหมายจึงเป็นเครื่องมือสำหรับสร้างความยุติธรรม สร้างความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นกับคนในสังคม #ทนายโทนี่ #ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์ July 18, 2025

Tag

Asian Handmade Jewelry (13) Hand Crafted Jewelry (11) HuaHinRetirement (11) Jewelry (11) กระชับความสัมพันธ์ (15) ครีมโรงงาน (17) คอนโด (15) คู่รัก (17) จัดนำเที่ยวปากีสถาน (23) ซิเดกร้า (20) ดูแลผิว (10) ดูแลผิวหน้า (10) ตกแต่งบ้าน (25) ทัวร์ปากีสถาน (23) ทาวน์โฮม นนทบุรี (12) บ้านนนทบุรี (18) บ้านพร้อมอยู่ (13) ปากีสถาน (13) ผ้าต่วนพาหุรัด (10) ผ้าไฮเกรดราคาส่ง (10) พักผ่อนต่างประเทศ (14) พื้นไม้ (16) พื้นไม้เอ็นจิเนียร์ (14) รถไฟฟ้าป๊อป (11) รถไฟฟ้าผู้สูงอายุ (11) รถไม่ใช้น้ำมัน (13) รับผลิตเครื่องสำอาง (44) รับเทิร์นรถไฟฟ้า (11) ร้านผ้าทันใจ (10) สกินแคร์ (10) สามล้อไฟฟ้า (13) สี่ล้อไฟฟ้า (13) หลังคาเมทัลชีท (10) เครื่องสำอาง (19) เครื่องสำอางโรงงาน (18) เช่ารถตู้พร้อมคนขับ (13) เช่ารถพร้อมคนขับ (11) เช่ารถหรู (10) เช่าอัลพาร์ด (16) เซรั่ม (17) เที่ยวต่างประเทศ (14) เที่ยวปากีสถานราคาถูก (23) โครงการบ้าน นนทบุรี (16) โรงงานผลิตเครื่องสำอาง (26) ไม้โอ๊ค (11)

Blog โพสต์ล่าสุด

  • Retire Your Worries: Discover a New Rhythm of Life in Hua Hin
  • อุทิศที่ดินให้กับทางราชการหรือยินยอมให้ทางราชการเข้าไปดำเนินการเพื่อใช้ประโยชน์โดยมีเงื่อนไข เมื่อทางราชการมิได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขก็ต้องถือว่าที่ดินพิพาทยังไม่ตกเป็นของทางราชการและไม่ตกเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน เจ้าของเดิมสามารถฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมการให้ที่ดินพิพาทได้ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1434/2563 หนังสือแสดงความประสงค์เรื่อง การอุทิศที่ดินให้กับทางราชการหรือยินยอมให้ทางราชการเข้าไปดำเนินการเพื่อให้มีการใช้ประโยชน์ร่วมกัน ทำขึ้นระหว่างโจทก์ทั้งสองในฐานะผู้บริจาคกับจำเลยในฐานะผู้รับบริจาค แม้จะมิได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ก็ย่อมมีผลผูกพันโจทก์ทั้งสองและจำเลยในฐานะเป็นบุคคลสิทธิ จำเลยจึงต้องปฏิบัติตามข้อสัญญาที่ระบุไว้ในหนังสือแสดงความประสงค์ดังกล่าว เมื่อการยกให้ แก่จำเลยเป็นการยกให้โดยมีเงื่อนไข ที่ดินพิพาททั้งสองแปลงจะตกเป็นของทางราชการและตกเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินก็ต่อเมื่อจำเลยได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขแล้ว จำเลยไม่ได้เริ่มดำเนินการก่อสร้างอาคารและสิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ ภายในระยะเวลาตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในหนังสือแสดงความประสงค์ ก็ต้องถือว่าที่ดินพิพาทยังไม่ตกเป็นของทางราชการและไม่ตกเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน โจทก์ทั้งสองจึงมีสิทธิฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมการให้ที่ดินพิพาททั้งสองแปลงได้ #ทนายโทนี่ #ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์ www.drsuthichai.com
  • คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6166/2562 ข้อเท็จจริงที่คู่ความไม่ได้โต้เถียงกันฟังเป็นยุติได้ว่า เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2555 จำเลยจดทะเบียนจำนองที่ดินไว้แก่โจทก์เพื่อเป็นประกันการกู้ยืมเงิน ต่อมาเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2557 ผู้ร้องสอดตกลงทำสัญญาซื้อขายต้นไม้กฤษณาจำนวน 900 ต้น ซึ่งจำเลยปลูกอยู่บนที่ดินดังกล่าว และผู้ร้องสอดชำระค่าต้นไม้กฤษณาให้แก่จำเลยแล้วในวันทำสัญญา ต่อมาโจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยชำระเงินตามสัญญากู้ยืมเงิน หากจำเลยไม่ชำระให้ยึดทรัพย์จำนองพร้อมสิ่งปลูกสร้างออกขายทอดตลาดนำเงินมาชำระหนี้แก่โจทก์ ผู้ร้องสอดยื่นคำร้องสอดว่าต้นไม้กฤษณาดังกล่าวไม่เป็นทรัพย์สินที่โจทก์จะบังคับจำนองได้ #ศาลฎีกาเห็นว่า แม้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 145 วรรคแรก จะบัญญัติว่า “ไม้ยืนต้นเป็นส่วนควบกับที่ดินที่ปลูกหรือขึ้นอยู่” ก็ตาม แต่หากเมื่อใดผู้ปลูกตัดไม้ยืนต้นออกไปจากที่ดินต้องถือว่านับตั้งแต่นั้นผู้ปลูกมีเจตนาจะให้ไม้ยืนต้นอยู่ติดกับที่ดินเพียงชั่วระยะเวลาหนึ่งอันมีจำกัดเป็นการชั่วคราว ไม้ยืนต้นที่ถูกตัดไปย่อมหมดสภาพการเป็นทรัพย์ส่วนควบของที่ดินตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 146 แม้จะได้ความตามว่าไม้กฤษณาที่ปลูกดังกล่าวเป็นต้นไม้มีอายุหลายปีโดยสภาพเป็นไม้ยืนต้นในที่ดินของจำเลยตั้งแต่ก่อนจำเลยจำนองที่ดินแก่โจทก์เพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ แต่เมื่อพิจารณาสัญญาซื้อขายต้นไม้กฤษณาระหว่างผู้ร้องสอดกับจำเลย อันมีสาระสำคัญแห่งข้อตกลงด้วยว่า ให้ผู้ร้องสอดผู้ซื้อตัดต้นไม้กฤษณาในที่ดินและนำออกจากที่ดินจำเลยมีกำหนดเวลา 4 ปี ต้นไม้กฤษณาที่เกษตรกรปลูกโดยทั่วไปจะมีระยะตั้งแต่เวลาปลูกต้นกล้า จนฉีดสารเร่งและตัดได้ประมาณ 6-7 ปี เมื่อตัดต้นไม้กฤษณาออกไปจากลำต้น ต้นไม้กฤษณาสามารถแตกแขนงรอบๆโคนต้นได้ แต่ไม้กฤษณาเป็นไม้เนื้ออ่อนไม่มีแก่น เมื่อโดนลมก็จะหักง่าย จึงไม่สามารถปล่อยให้กิ่งแตกแขนงขึ้นมาและใช้ประโยชน์ใดๆได้ เกษตรกรจึงใช้วิธีไถกลบและปลูกต้นกล้าใหม่เท่านั้น พฤติการณ์แห่งคดีย่อมเป็นที่เห็นได้ชัดว่า ต้นไม้กฤษณาที่จำเลยปลูกในที่ดินเป็นการปลูกไว้เพียงชั่วคราวในระยะเวลาหนึ่ง และเมื่อต้นไม้กฤษณาโตได้ขนาดก็จะตัดโค่นนำแก่นไปสกัดเป็นน้ำหอม ซึ่งบุคคลปกติทั่วไปรวมทั้งโจทย์อาจเล็งเห็นได้ ต้นไม้กฤษณาที่ปลูกลงในที่ดินจึงเป็นทรัพย์ที่ติดกับที่ดินเพียงชั่วคราวตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 146 ไม่ตกเป็นส่วนควบของที่ดินที่จำเลยนำไปจำนองไว้แก่โจทก์ ต่างจากส่วนโคนต้น ซึ่งหากไม่มีการไถกลบไปก็อาจเป็นส่วนควบกับที่ดิน ดังนี้ เมื่อผู้ร้องสอดตกลงทำสัญญาซื้อขายต้นไม้กฤษณา และชำระเงินแก่จำเลยแล้วดังกล่าวไปข้างต้น กรรมสิทธิ์ในต้นไม้กฤษณาย่อมตกได้แก่ผู้ร้องสอดตั้งแต่วันที่ทำสัญญาซื้อขาย วันที่ 10 มีนาคม 2557 แล้ว ผู้ร้องสอดชอบที่จะตัดต้นไม้กฤษณาจากที่พิพาทได้ โจทก์ไม่มีสิทธิบังคับจำนองเอาจากส่วนของผู้ร้องสอดซึ่งเป็นบุคคลภายนอก __________ ที่มา: คำพิพากษาศาลฎีกา พุทธศักราช 2562 เล่มที่ 10 หน้า 59-62 #ทนายโทนี่ #ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์ www.drsuthichai.com
  • ความผิดฐานให้บุคคลอื่นกู้ยืมเงินโดยเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกำหนด คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1561/2565 ความผิดฐานให้บุคคลอื่นกู้ยืมเงินโดยเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกำหนด เกิดขึ้นและสำเร็จแล้วในทันทีที่จำเลยให้ผู้เสียหายทั้งห้ากู้เงินโดยเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกำหนด มิใช่ว่าจำเลยจะต้องได้รับดอกเบี้ยจากผู้เสียหายทั้งห้าก่อน พระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ.2560 ม. 4 (1) มาตรา๔ บุคคลใดให้บุคคลอื่นกู้ยืมเงินหรือกระทําการใดๆอันมีลักษณะเป็นการอําพรางการให้กู้ยืมเงินโดยมีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสองแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ (๑) เรียกดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกําหนดไว้ #ทนายโทนี่ #ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์ www.drsuthichai.com
  • การกู้ยืมเงินที่ต้องการหลักฐานเป็นหนังสือในการฟ้องร้องบังคับคดี ไม่จำต้องมีในขณะกู้ยืมกัน แม้จะมีหลักฐานเป็นหนังสือภายหลัง แต่ก่อนฟ้องร้องบังคับคดีก็เป็นอันใช้บังคับได้ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2280/2567 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 653 วรรคหนึ่ง การกู้ยืมเงินที่ต้องการหลักฐานเป็นหนังสือในการฟ้องร้องบังคับคดีต้องเป็นการกู้ยืมเงินเกินกว่า 2,000 บาท ขึ้นไป และหลักฐานเป็นหนังสือเป็นหนังสือที่กฎหมายบังคับให้ต้องมี มิฉะนั้นจะฟ้องร้องบังคับคดีกันไม่ได้ โดยไม่จำต้องมีในขณะกู้ยืมกัน แม้จะมีหลักฐานเป็นหนังสือภายหลัง แต่ก่อนฟ้องร้องบังคับคดีก็เป็นอันใช้บังคับได้ และคำฟ้องในคดีอาญาของจำเลย ถือเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อจำเลยผู้ยืมเป็นสำคัญ โจทก์สามารถฟ้องร้องให้บังคับคดีจำเลยได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 653 วรรคหนึ่ง #ทนายโทนี่ #ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์
  • สถานที่ใดจะเป็นสาธารณสถานหรือไม่ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 883/2520 สถานที่ใดจะเป็นสาธารณสถานหรือไม่ ไม่ต้องคำนึงว่าสถานที่นั้นจะเป็นสถานที่ผิดกฎหมาย เช่นสถานการค้าประเวณีหรือไม่เพียงแต่พิจารณาว่าสถานที่นั้นประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้หรือไม่และต้องพิจารณาข้อเท็จจริงเป็นราย ๆ ไป ถ้าประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้ สถานที่นั้นก็เป็นสาธารณสถานไม่ใช่ที่รโหฐาน ได้ความว่าเจ้าของสถานการค้าประเวณีหรือซ่องโสเภณีมิได้หวงห้ามผู้หนึ่งผู้ใดที่จะไปหาความสุขกับหญิงโสเภณี หรือไปธุระอื่นที่จะเข้าไปในห้องโถงซึ่งใช้เป็นที่รับแขกในสถานการค้าประเวณีหรือซ่องโสเภณีนั้นห้องโถงจึงเป็นสถานที่ซึ่งประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้เป็นสาธารณสถานไม่ใช่ที่รโหฐาน พนักงานตำรวจมีอำนาจค้นและจับได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 93,78(3) จำเลยมีและใช้อาวุธปืนยิงต่อสู้ขัดขวางมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 140, 289(2),80,52(ประชุมใหญ่ ครั้งที่ 12/2519) #ทนายโทนี่ #ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์
  • Can vashikaran be used for personal gain or only for relationship issues
  • Retire in Hua Hin: Where Tranquility Meets Quality Living
  • เทียบข้อดี-ข้อเสีย รถเทรลเลอร์แบบต่างๆ ที่ใช้ในกรุงเทพฯ เลือกแบบไหนดี?
  • ความเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ คนเราทุกคนเกิดมาอาจจะไม่เท่าเทียมกัน รวยไม่เท่ากัน มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง ไม่เท่ากัน แต่จะทำอย่างไรให้ทุกคนอยู่ภายใต้กฎหมายอย่างเท่าเทียมกัน กฎหมายจึงเป็นเครื่องมือสำหรับสร้างความยุติธรรม สร้างความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นกับคนในสังคม #ทนายโทนี่ #ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์
  • ขอมีภริยาน้อย คำพิพากษาฎีกาที่ 1437/2565 ในวันเกิดเหตุผู้ตายทะเลาะกับจำเลย โดยผู้ตายขอมีภริยาน้อย พูดจาดูถูกเหยียดหยามบุพการีจำเลย ไล่จำเลยให้ออกจากบ้านและผู้ตายทำร้ายร่างกายจำเลย ซึ่งการที่ผู้ตายด่าว่าจำเลยที่เป็นภริยาในลักษณะดูถูกเหยียดหยามและขอมีภริยาน้อยทั้งด่าไปถึงบุพการีของจำเลยและทำร้ายจำเลยเช่นนั้น ย่อมทำให้จำเลยรู้สึกแค้นเคืองเป็นอย่างมาก ถือว่าเป็นการข่มเหงจำเลยอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรม การที่จำเลยใช้อาวุธปืนยิงผู้ตาย โดยขณะ พ. เข้ามาช่วยผู้ตายจำเลยยังพูดกับ พ. ว่า “ไม่ต้องไปช่วยมัน” จึงเป็นการกระทำความผิดขณะบันดาลโทสะอยู่ จำเลยจึงมีความผิดฐานฆ่าผู้อื่น โดยบันดาลโทสะตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 ประกอบมาตรา 72 ซึ่งศาลจะลงโทษจำเลยน้อยกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้ นอกจากนั้นเมื่อข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่า ผู้ตายมีส่วนก่อให้จำเลยกระทำความผิด ผู้ตายจึงมีส่วนในการกระทำความผิดอยู่ด้วย ผู้ตายจึงมิใช่ผู้เสียหายโดยนิตินัยในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 288 ตามประมวลกฎหมายวิพิจารณาความอาญา มาตรา 2 (4) นาย ม. โดย นาง ส. ผู้แทนเฉพาะคดี ย่อมไม่มีอำนาจจัดการแทนผู้ตายได้ตามประมวลกฎหม่ายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 5 (2) และไม่มีอำนาจเข้าร่วมเป็นโจทก์ตาม มาตรา 30 ที่ศาลชั้นต้นอนุญาตให้นาย ม.โดย นาง ส. ผู้แทนเฉพาะคดี เข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการจึงไม่ชอบ ปัญหาดังกล่าวเป็นข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย แม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดฎีกาศาลฎีกามีอำนาจยกขึ้นวินิจฉัยเองได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 195 วรรคสองประกอบด้วย มาตรา 225 #ทนายโทนี่ #ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์
  • เคล็ดลับสร้างแบรนด์ติดตลาด ด้วยบริการ รับผลิตเครื่องสำอาง จากมืออาชีพ
  • Retirement with Peace, Purpose, and Community: Why Hua Hin is the Ideal Destination
  • จำเลยอ้างครอบครองปรปักษ์ ศาลฎีกาให้โจทก์ชนะ เพราะจำเลยไม่แสดงเจตนาเป็นเจ้าของ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 956/2552 การครอบครองโดยปรปักษ์นั้น มิใช่เพียงแต่ยึดถือเพื่อตนเองอย่างสิทธิครอบครองเท่านั้น ยังจะต้องมีการยึดถือครอบครองด้วยเจตนาจะเป็นเจ้าของทรัพย์สินนั้นด้วย ส่วนจะมีเจตนาเป็นเจ้าของหรือไม่ซึ่งเป็นเรื่องอยู่ภายในจิตใจ ต้องอาศัยพฤติการณ์ต่างๆ แห่งการยึดถือครอบครองมาประกอบว่าพอจะเป็นการยึดถือครอบครองอย่างเป็นเจ้าของได้หรือไม่ สำหรับการครอบครองที่ดินพิพาทของ ม.ย. และจำเลย ก่อนวันที่ 8 สิงหาคม 2509 ไม่ได้ความว่าที่ดินพิพาทเป็นทรัพย์สินที่มีเอกสารสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ กรณีจึงรับฟังได้ว่าการครอบครองที่ดินพิพาทในช่วงระยะเวลาดังกล่าวนี้ถือไม่ได้ว่าเป็นการครอบครองปรปักษ์ ส่วนการครอบครองนับแต่วันที่ดินพิพาทมีโฉนดที่ดินแล้ว ก็ไม่ปรากฏถึงพฤติการณ์แห่งการครอบครองที่ดินพิพาทของจำเลยว่ามีเจตนาเป็นเจ้าของแต่อย่างใด เนื่องจากไม่ปรากฏว่าจำเลยผู้ครอบครองเคยแสดงออก เช่น หวงกันมิให้บุคคลอื่นเข้ามายุ่งเกี่ยวหรือดูแลรักษาที่ดินพิพาทไว้เพื่อประโยชน์แห่งตนและปฏิเสธต่อการอ้างสิทธิในการเป็นเจ้าของต่อบุคคลอื่นเป็นต้น ดังนั้น การครอบครองที่ดินพิพาทของจำเลยจึงไม่เป็นการครอบครองปรปักษ์ที่ดินของโจทก์ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1382 บุคคลใดครอบครองทรัพย์สินของผู้อื่นไว้โดยความสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ ถ้าเป็นอสังหาริมทรัพย์ได้ครอบครองติดต่อกันเป็นเวลาสิบปี ถ้าเป็นสังหาริมทรัพย์ได้ครอบครองติดต่อกันเป็นเวลาห้าปีไซร้ ท่านว่าบุคคลนั้นได้กรรมสิทธิ์ #ทนายโทนี่ #ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์
  • การจะได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินของคนอื่นโดยการครอบครองปรปักษ์ จะต้องครอบครองหลังจากที่ดินมีโฉนดแล้ว และต้องครอบครองติดต่อกันด้วยเจตนาเป็นเจ้าของเป็นเวลา 10 ปี คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 6462/2549 ผู้ร้องครอบครองที่ดินพิพาทนับแต่วันที่ที่ดินพิพาทได้ออกโฉนดที่ดินถึงวันฟ้องยังไม่ถึง 10 ปี แม้ผู้ร้องจะครอบครองที่ดินพิพาทโดยความสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ ผู้ร้องก็ยังไม่ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทตาม ป.พ.พ. มาตรา 1382 เนื่องจากการครอบครองปรปักษ์ต้องเริ่มนับแต่วันที่ที่ดินพิพาทได้ออกโฉนดที่ดินเป็นต้นไป ทั้งผู้ร้องจะนับระยะเวลาการครอบครองที่ดินพิพาทก่อนจะมีการออกโฉนดที่ดินรวมเข้าด้วยก็มิได้ เพราะการที่จะได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินของผู้อื่นโดยการครอบครองปรปักษ์นั้น ใช้ได้แต่เฉพาะที่ดินมีกรรมสิทธิ์เท่านั้น ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า “ข้อเท็จจริงเบื้องต้นฟังเป็นยุติว่า ที่ดินพิพาทเดิมเป็นที่ดินตามหนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.3 ก.) เลขที่ 121 ตำบลกุดหว้า อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ต่อมาวันที่ 8 กรกฎาคม 2539 ทางราชการได้ออกโฉนดที่ดินสำหรับที่ดินพิพาทให้แก่นาย ก. คือ โฉนดเลขที่ 11425 ตำบลกุดหว้า อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ปัญหาต้องวินิจฉัยตามฎีกาของผู้ร้องมีว่า ผู้ร้องได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทโดยการครอบครองปรปักษ์หรือไม่ เห็นว่า คดีนี้ผู้ร้องยื่นคำร้องขอให้ศาลมีคำสั่งแสดงว่าผู้ร้องได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทโดยอ้างว่า ผู้ร้องครอบครองที่ดินพิพาทโดยความสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ จึงเป็นการยื่นคำร้องขอแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทโดยการครอบครองปรปักษ์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1382 เมื่อปรากฏว่าผู้ร้องครอบครองที่ดินพิพาทนับแต่วันที่ที่ดินพิพาทได้ออกโฉนดที่ดินเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2539 ถึงวันฟ้อง คือวันที่ 24 ธันวาคม 2545 ยังไม่ถึง 10 ปี แม้ผู้ร้องครอบครองที่ดินพิพาทโดยความสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ ผู้ร้องก็ยังไม่ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายดังกล่าว เนื่องจากการครอบครองปรปักษ์ต้องเริ่มนับแต่วันที่ที่ดินพิพาทได้ออกโฉนดที่ดินเป็นต้นไป ทั้งผู้ร้องจะนับระยะเวลาการครอบครองที่ดินพิพาทก่อนจะมีการออกโฉนดที่ดินรวมเข้าด้วยก็มิได้ เพราะการที่จะได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินของผู้อื่นโดยการครอบครองปรปักษ์นั้น ใช้ได้แต่เฉพาะที่ดินมีกรรมสิทธิ์เท่านั้น #ทนายโทนี่ #ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์
  • Facebook
  • X
  • Instagram
  • RSS
Copyright @ websitegang.com | Developed by : WebsiteGang